Page 12 - ปันสุข ปี 2 เล่ม 2
P. 12

5. ป˜จจัยเกี่ยวกับลักษณะองคกร
                ความเครียดที่เกิดจากป˜จจัยเกี่ยวกับลักษณะองคกรมักเกี่ยวขŒองกับ
              วัฒนธรรมและวิถีหรือรูปแบบการจัดการภายในองคกร ซึ่งส‹งผลต‹อความรูŒสึก
              และความเครียดของบุคลากรภายในองคกร กล‹าวคือ องคกรที่มีโครงสรŒาง
              ภายในซึ่งแบ‹งหน‹วยงานออกเปšนกลุ‹มย‹อยๆ มักยินยอมใหŒบุคลากรภายใน
              องคกรมีส‹วนร‹วมเพียงนŒอยนิดในการตัดสินใจเกี่ยวกับงานที่พวกเขาตŒองรับ
              ผิดชอบ การสื่อสารระหว‹างกันอย‹างไม‹มีประสิทธิภาพก็เปšนอีกตัวแปรที่มีส‹วน
              ทําใหŒบุคลากรภายในองคกรมีความเครียด
                อย‹างไรก็ตาม บรรยากาศของการทํางานที่เกิดขึ้นภายในองคกรเปšนตัว
              บอกใหŒรูŒว‹า ลักษณะของกระบวนการสื่อสารภายในองคกรว‹าเปšนเช‹นไร หาก
              การสื่อสารระหว‹างกันและกันเปšนไปในเชิงลบ อาจนําไปสู‹การติฉินนินทาเกี่ยว
              กับผูŒบังคับบัญชา เพื่อนร‹วมงาน ผูŒใตŒบังคับบัญชา นอกจากนี้ยังพบว‹านโยบาย
              ขององคกรมีผลกระทบอย‹างมากต‹อความเครียดของบุคลากร จากการศึกษา
              พบว‹ามุมมองของบุคลากรเกี่ยวกับนโยบายขององคกรในเชิงลบมีความ
              สัมพันธกันอย‹างสูงกับอาการทางจิตที่เกิดจากความเครียดในการทํางาน อีก
              ทั้งยังพบว‹านโยบายขององคกรมีความสัมพันธกับระดับความเครียดของ   5
              บุคลากรอย‹างมีนัยสําคัญ อาจกล‹าวไดŒว‹าการขาดการมีส‹วนร‹วมในการตัดสิน
              ใจ การขาดการสื่อสารที่ดีภายในองคกร และนโยบายขององคกร ลŒวนมีผล   ศูนยองคกรสุขภาวะ
              ต‹อความเครียดของบุคลากรภายในองคการทั้งสิ้น
               6. ป˜จจัยเกี่ยวกับความไม‹สมดุลระหว‹างชีวิตทํางานและชีวิตส‹วนตัว
                บางครั้งเราเรียกความไม‹สมดุลดังกล‹าวว‹า ความขัดแยŒงระหว‹างชีวิต
              ทํางานและชีวิตส‹วนตัว  ป˜จจุบันพบว‹าโครงสรŒางของครอบครัวเกิดการ
              เปลี่ยนแปลงซึ่งต‹างจากในอดีตที่ผ‹านมา ผูŒหญิงมีบทบาทมากขึ้นในการมีส‹วน
              ร‹วมในการทํางาน อีกทั้งการเปลี่ยนแปลงอย‹างกŒาวกระโดดทางเทคโนโลยี
              ซึ่งมีผลต‹อลักษณะงานที่เปลี่ยนรูปแบบไปดŒวย การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการ
              ทํางานดังกล‹าวบางครั้งก‹อใหŒเกิดความเครียดเนื่องจากความไม‹สมดุลระหว‹าง
              ชีวิตทํางานกับชีวิตส‹วนตัว ซึ่งความไม‹สมดุลดังกล‹าวเชื่อมโยงกับอาการทาง
              จิตอันเนื่องมาจากความเครียด โดยเฉพาะผูŒหญิง พ‹อแม‹ที่อยู‹ในวัยทํางาน คู‹รัก
              ที่มีอาชีพเดียวกัน
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17