Page 8 - ปันสุข ปี 2 เล่ม 2
P. 8
ÊÌҧÊآ㹡Ò÷íÒ§Ò¹
´ŒÇ¡ÒèѴ¡ÒäÇÒÁà¤ÃÕ´
มนุษยวัยทํางานคงไมปฏิเสธวา การทํางานในทุกสาขาอาชีพยอมตอง
เผชิญกับปญหาอุปสรรค และแรงกดดันความตึงเครียดจากการทํางาน ยิ่งใน
ปจจุบันการเปลี่ยนแปลงภาวะสังคม และเศรษฐกิจ ที่รุดหนาเขาสูสังคม
อุตสาหกรรม ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงและเกิดผลกระทบไมมากก็นอยตอ
ชีวิตการทํางานของบุคคล ซึ่งเปนสาเหตุใหเกิดความเครียดตอคนทํางานใน
ทุกระดับทุกตําแหนงงาน
ปญหาความเครียดจากการทํางานนับวาเปนปญหาอาชีวอนามัยของคน
ทํางานที่มีความสําคัญมาก สาเหตุสวนใหญเกิดจากปจจัยดานจิตสังคม
(Psychosocial factors) และสภาวะการทํางาน (Working conditions)
ความเครียดจากการทํางาน (Occupational stress) เปนการตอบสนอง 1
ของบุคคลตอภาวะคุกคามสุขภาพ อันเนื่องมาจากสภาพแวดลอม ทําให
เกิดการเปลี่ยนแปลงทางดานรางกาย อารมณ พฤติกรรม และความคิด ศูนยองคกรสุขภาวะ
(Grundfest, 2005 อางถึงใน กาญจนา วิเชียรประดิษฐ,ทนงศักดิ์ ยิ่งรัตนสุข
และศรีรัตน ลอมพงศ,2556, หนา415)
ในทางทฤษฎี ความเครียดจากการทํางานเปนสิ่งกระตุนใหบุคคลรับรูถึง
ความไมสมดุลระหวางระดับขอเรียกรองจากการทํางาน (Job demand) การ
ควบคุมหรืออํานาจตัดสินใจในงาน (Job control or decision latitude) และ
การสนับสนุนทางสังคม (Social support) กลาวคือ ความเครียดจากการ
ทํางาน เกิดจากขอเรียกรองจากการทํางานสูง การควบคุมหรืออํานาจตัดสิน
ใจในงานและการสนับสนุนทางสังคมตางๆ ซึ่งสงผลกระทบตอรางกาย จิตใจ
และพฤติกรรมของบุคคล (Baker & Karasek, 2000; Karasek, 1998; Schnall,
Lansbergist, & Baker, 1994; Theorell, 2000)