Page 11 - ปันสุข ปี 2 เล่ม 1
P. 11

ดŒานนักเศรษฐศาสตรเรียกความสุขว‹าเปšน “อรรถประโยชน” (Utility)
             หรือ ความพึงพอใจ (Preference) ซึ่งเปšนที่ตŒองการไม‹จํากัด แต‹มนุษยมีขŒอ
             จํากัดที่กําลังซื้อหรือรายไดŒ(Budget Constraint) ดังนั้น ในทางทฤษฎี
             เศรษฐศาสตรดั้งเดิม  คือ  เมื่อมีรายไดŒมากขึ้น  มนุษยก็ย‹อมแสวงหา
             อรรถประโยชนไดŒมากขึ้น ฐานะการครองชีพ ความเปšนอยู‹น‹าจะดีขึ้น คุณภาพ
             ชีวิตและความสุขจึงน‹าจะมากขึ้นตาม กระทั่ง Adam Smith บิดาแห‹งวิชา
             เศรษฐศาสตร เคยกล‹าวว‹าความสุขเปšนเป‡าหมายสุดทŒายของการดําเนิน
             กิจกรรมทางเศรษฐกิจโดยรวม (สุทิพันธุ บงสุนันท, 2548)


              Veenhoven (1984 อŒางถึงใน อภิพร อิสระเสนีย, 2549: 7-8) ไดŒศึกษา
             ทางดŒานสุขภาวะและความสุขในชีวิต พบถึงความแตกต‹างระหว‹างคนที่มี
             ความสุขกับคนที่ไรŒความสุข โดย 6 ลักษณะที่มีผลต‹อความสุขคือ


              1) ทรัพยากรในตัวบุคคล (Personal Resource) คือ ลักษณะที่เสริมสรŒาง
             ต‹อความสามารถในการเผชิญป˜ญหาของบุคคล ไดŒแก‹ การมีสุขภาพที่แข็งแรง
     สรŒางสุขดŒวยตนเอง  การมีจิตใจที่เขŒมแข็ง การมีความสามารถพิเศษและกิจกรรมที่บุคคลเขŒาร‹วม



    4         2) บุคลิกภาพ (Personality) ไดŒแก‹ ความเชื่อในโชคชะตา กลวิธีการปกป‡อง
             ตนเอง แนวโนŒมการชอบหรือไม‹ชอบสิ่งต‹างๆ และการใหŒควาสําคัญเรื่องเวลา


              3) รูปแบบการดําเนินชีวิต (Life Style) กล‹าวคือ บุคคลที่มีความสุขนั้น
             นอกจากจะตŒอดําเนินชีวิตอย‹างพากเพียรและมีสติแลŒว ยังพบว‹าบุคคลกลุ‹มนี้
             จะเปดรับความสุขความพึงพอใจและมีส‹วนร‹วมในกิจกรรมสันทนาการต‹างๆ
             แต‹เมื่อเปรียบเทียบระหว‹างบุคคลที่มีความสุขและไม‹มีความสุขในเรื่องนิสัย
             การดื่มสุรา การสูบบุหรี่ การทานอาหาร การนอน พบว‹าไม‹มีความแตกต‹าง
             กันอย‹างชัดเจน
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16