Page 83 - ปันสุข ปี 2 เล่ม 2
P. 83
หลักความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึง
ความจําเปนที่จะตองมีระบบภูมิคุมกันในตัวที่ดีพอสมควร ตอการกระทบใดๆ
อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลง ทั้งภายในภายนอก ทั้งนี้ จะตองอาศัยความรอบรู
ความรอบคอบ และความระมัดระวังอยางยิ่ง ในการนําวิชาการตางๆ มาใช
ในการวางแผนและการดําเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะตองเสริม
สรางพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเราซึ่งเปนเจาหนาที่ของรัฐ ใหมี
สํานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตยสุจริต และใหมีความรอบรูที่เหมาะสม ดําเนิน
ชีวิตดวยความ อดทน ความเพียร มีสติ ปญญาและความรอบคอบเพื่อให
สมดุลและพรอมตอการรองรับการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว และกวางขวาง
ทั้งดานวัตถุ สังคม สิ่งแวดลอม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได
เปนอยางดี
หลักความพอประมาณ ความพอดีพอเหมาะ ตอความจําเปนที่ไมนอยเกิน
ไป และไมมากเกินไปโดยไมเบียดเบียนตนเองและผูอื่น
หลักความมีเหตุผล การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะ
ตองเปนไปอยางมีเหตุผลโดยพิจารณาจากเหตุปจจัยที่เกี่ยวของตลอดจนคํานึง
สรางสุขดวยตนเอง ถึงผลที่คาดวาจะเกิดขึ้นจากการกระทํานั้นๆ อยางรอบคอบ
หลักการมีภูมิคุมกันที่ดีในตัว การเตรียมตัวใหพรอมรับผลกระทบและ
76 การเปลี่ยนแปลงดานตางๆที่จะเกิดขึ้น โดยคํานึงถึงความเปนไปไดของ
สถานการตางๆ ที่คาดวาจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกลและไกล
เงื่อนไขความรู ความรอบรูเกี่ยวกับวิชาการตางๆที่เกี่ยวของอยางรอบดาน
ความรอบคอบที่จะนําความรูเหลานั้นมาพิจารณาใหเชื่อมโยงกันเพื่อประกอบ
การวางแผน และความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ
เงื่อนไขคุณธรรม ความตระหนักในคุณธรรม ความซื่อสัตยสุจริต
ความอดทน มีความเพียร และใชสติปญญาในการดําเนินชีวิต
ในหลวงทรงเปนทุกสิ่งทุกอยางใหดิฉันเดินอยูในอาชีพอันทรงเกียรตินี้
ยามทอ หมดกําลังใจ เห็นภาพพระองคทานทรงงาน ทรงคิดคนแนวทางแกไข
ปญหาไดอยางแยบยล การทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เปนการ
ดําเนินงาน ในลักษณะทางสายกลางที่สอดคลองกับวิถีชีวิตของสังคมไทย และ
สามารถปฏิบัติไดจริง โดยทรงเนน “การพัฒนาคน” เปนตัวตั้ง และยึดหลัก